ติดต่อผู้ดูแลเว็บไซต์
ปฎิทิน
April 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
    
สถิติ
เปิดเมื่อ19/06/2011
อัพเดท5/02/2013
ผู้เข้าชม431741
แสดงหน้า648305




นักธรรมธรรมศึกษาชั้นตรี

25/05/2012 20:58 เมื่อ 25/05/2012 อ่าน 2574 | ตอบ 0
ทานวรรค คือ  หมวดทาน
 
              ๑.    ทานญจ  ยุทธญจ  สมานมาหุ.
                      ท่านว่า   ทานและการรบ  เสมอกัน
                      สํ.   ส.   ๑๕ / ๒๙   ขุ.   ชา.   อฎฺฐก.    ๒๗ / ๒๔๙.
 
              ๒.    นตถิ  จิตเต  ปสนนมหิ       อปปกา  นาม  ทกขิณา.
                      เมื่อจิตเลื่อมใสแล้ว     ทักขิณาทานชื่อว่าน้อย     ย่อมไม่มี.
                      ขุ.   วิมาน.   ๒๖ / ๘๒.     
 
              ๓.    วิเจยย    ทานํ     สุคตปฺปสตฺถํ.
                      การเลือกให้     อันพระสุคตทรงสรรเสริญ
                      สํ. ส. ๑๕ / ๓๐. ขุ. ชา. อฏฺฐก. ๒๗ / ๒๔๙.  เปต. ๒๖ / ๑๙๗.
 
              ๔.    พาลา     หเว     นปปสํสนติ.     ทานํ.
                      คนพาลเท่านั้น     ย่อมไม่สรรเสริญทาน.
                      ขุ. ชา.   ๒๕ / ๓๘.
 
              ๕.    ททํ     มิตตานิ     คนถติ.
                      ผู้ให้     ย่อมผูกไมตรีไว้ได้.
                      สํ.   ส.   ๑๕ / ๓๑๖.
 
              ๖.    ททํ     ปิโย     โหติ     ภชนติ     นํ     พหู.
                      ผู้ให้     ย่อมเป็นที่รัก     คนหมู่มากย่อมคบเขา.
                    อง.   ปญจก.   ๒๒ / ๔๓.
 
 
              ๗.    ททมาโน     ปิโย     โหติ.
                      ผู้ให้     ย่อมเป็นที่รัก.
                      อง.   ปญจก.   ๒๒ / ๔๔.
    
              ๘.    สุขสส  ทาตา  เมธาวี   สุขํ  โส  อธิคจฉติ.
                      ปราชญ์ผู้ให้ความสุข     ย่อมได้รับความสุข.
                      อง.   ปญจก.   ๒๒ / ๔๕.
 
              ๙.    มนาปทายี  ลภเต  มนาปํ
                      ผู้ให้สิ่งที่ชอบใจ       ย่อมได้สิ่งที่ชอบใจ.
                      อง.   ปญจก.   ๒๒ / ๕๕.
 
              ๑๐.   เสฏฐนทโท     เสฏฐมุเปติ     ฐานํ.
                      ผู้ให้สิ่งประเสริฐ     ย่อมถึงฐานะที่ประเสริฐ.
                      อง.    ปญจก.   ๒๒ / ๕๖.
 
              ๑๑.   อคคสส  ทาตา  ลภเต  ปุนคคํ.
                      ผู้ให้สิ่งที่เลิศ     ย่อมได้สิ่งที่เลิศอีก.
                      อง.   ปญจก.   ๒๒ / ๕๖.
 
              ๑๒.  ททโต  ปุญญํ  ปวฑฒติ.
                      เมื่อให้     บุญก็เพิ่มขึ้น.
              ที.   มหา.   ๑๐ / ๑๕๙.   ขุ.   อุ.   ๒๕ / ๒๑๕.
 
              ๑๓.  ทเทยย     ปุริโส     ทานํ.
                      คนควรให้ของที่ควรให้
                      ขุ.   ชา.   สตตก.   ๒๗ / ๒๑๗
๒.  ศีลวรรค  คือ  หมวดศีล
 
              ๑.     สีลํ     ยาว     ชรา     สาธุ.
                      ศีลยังประโยชน์ให้สำเร็จตราบเท่าชรา.
                      สํ.   ส.   ๑๕ / ๕๐
 
              ๒.     สุขํ     ยาว     ชรา     สีลํ.
                      ศีลนำสุขมาให้ตราบเท่าชรา.
                       ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๕๙.
 
              ๓.     สีลํ     กิเรว     กลยาณํ.
                      ท่านว่าศีลนั่นเทียว     เป็นความดี
                      ขุ.  ธ.   ๒๕ / ๕๙.
 
              ๔.     สีลํ     โลเก     อนุตฺตรํ.
                      ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
                      ขุ.   ชา.   เอก.   ๒๗ / ๒๘
 
              ๕.     สํวาเสน     สีลํ     เวทิตพพํ.                                                
                      ศีลพึงรู้ได้เพราะอยู่ร่วมกัน.
                      นัย-   ขุ.   อุ.   ๒๕ / ๑๗๘.                                                              
 
              ๖.     สาธุ     สพพตถ     สํวโร.
                      ความสำรวมในที่ทั้งปวง     เป็นดี.
                      สํ.   ส.   ๑๕ / ๑๐๖.   ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๖๔.
 
              ๗.     สญญมโต     เวรํ     น     จียติ.
                      เมื่อคอยระวังอยู่     เวรย่อมไม่ก่อขึ้น.
                      ที.   มหา.   ๑๐ / ๑๕๙.   ขุ.   อุ.   ๒๕ / ๒๑๕.

              ๘.    สีลํ     รกเขยย     เมธาวี.
                      ปราชญ์พึงรักษาศีล.
                      ขุ.   อิติ.   ๒๕ / ๒๘๒.
 
๓. สติวรรค คือ หมวดสติ
 
              ๑.     สติ     โลกสมิ     ชาคโร.
                      สติเป็นธรรมเครื่องตื่นอยู่ในโลก.
                      สํ.   ส.   ๑๕ / ๖๑.
 
 
              ๒.    สติมโต      สทา     ภททํ.
                      คนผู้มีสติ     มีความเจริญทุกเมื่อ.                                                                                                                                                                                                                                                                                
                      สํ.   ส.   ๑๕ / ๓๐๖.
 
              ๓.     สติมา     สุขเมธติ.
                      คนมีสติ     ย่อมได้รับความสุข.
                      สํ.   ส.   ๑๕ / ๓๐๖.
 
              ๔.     สติมโต     สุเว     เสยโย.
                      คนมีสติ     เป็นผู้ประเสริฐทุกวัน.
                      สํ.   ส.   ๑๕ / ๓๐๖.
 
              ๖.     รกขมาโน     สโต     รกเข.
                      ผู้รักษา     ควรมีสติรักษา.
                      ส.   ส.
๔. ปาปวรรค คือ หมวดบาป.
 
              ๑.     มลา     เว     ปาปกา     ธมมา     อสมึ     โลเก     ปรมหิ     จ.
                      บาปธรรมเป็นมลทินแท้     ทั้งในโลกนี้     ทั้งในโลกอื่น.
                      อง.   อฏฺฐก.   ๒๓ / ๑๙๘.   ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๔๗.
 
              ๒.    ทุกโข     ปาปสส     อุจจโย.
                      ความสั่งสมบาป     นำทุกข์มาให้.
                      ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๓๐.
 
              ๓.    ปาปานํ  อกรณํ   สุขํ.
                      การไม่ทำบาป     นำสุขมาให้.
                      ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๕๙.
 
              ๔.     ปาปํ  ปาเปน  สุกรํ.
                      ความชั่วอันคนชั่วทำง่าย.
                      วิ.   จุล.   ๗ / ๑๙๕.    ขุ.   อุ.   ๒๕ / ๑๖๘.
 
              ๕.     ปาเป  น  รมตี  สุจิ.
                      คนสะอาดไม่ยินดีในความชั่ว.
                      วิ.   มหา.   ๕ / ๓๔.   ขุ.   อุ.   ๒๕ / ๑๖๖.
 
              ๖.     สกมมุนา  หญญติ  ปาปธมโม.
                      คนมีสันดานชั่ว     ย่อมลำบากเพราะกรรมของตน.
                      ม.   ม.   ๑๓ / ๔๑๓.   ขุ.   เถร.   ๒๖ / ๓๗๙.
 
              ๗.     ตปสา  ปชหนติ   ปาปกมมํ.
                      สาธุชนย่อมละบาปกรรมด้วยตปะ.
                      ขุ.   ชา.   อฏฺฐก.   ๒๗ / ๒๔๕.
              ๘.    ปาปานิ     กมมานิ     กโรนติ     โมหา.
                      คนมักทำบาปกรรมเพราะความหลง.
                      ม.   ม.   ๑๓ / ๔๑๓.   ขุ.   ชา.   ปกิณฺณก.   ๒๗ / ๓๘๐.
 
              ๙.    นตถิ     ปาปํ     อกุพพโต.
                      บาปไม่มีแก่ผู้ไม่ทำ.
                      ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๓๑.
 
              ๑๐.   ธมมํ  เม  ภณมานสส  น  ปาปมุปลิมปติ.
                      เมื่อเรากล่าวธรรมอยู่     บาปย่อมไม่แปดเปื้อน.
                      ขุ.   ชา.   สตฺตก.   ๒๗ / ๒๒๔.
 
              ๑๑.   นตถิ  อการิยํ  ปาปํ  มุสาวาทิสส  ชนตุโน.
                      คนมักพูดมุสา     จะไม่พึงทำความชั่ว     ย่อมไม่มี.
                      นัย-   ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๓๘.   นัย -   ขุ.   อิติ.   ๒๕ / ๒๔๓.
 
              ๑๒.   ปาปานิ  ปริวชชเย.
                      พึงละเว้นบาปทั้งหลาย.
                           ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๓๑.
 
              ๑๓.  น  ฆาสเหตุปิ  กเรยย  ปาปํ.
                      ไม่ควรทำบาปเพราะเห็นแก่กิน.
                      นัย-   ขุ.   ชา.   นวก.   ๒๗ / ๒๖๒.
 
 
๕.  ปุญญวรรค  คือ  หมวดบุญ
 
              ๑.     ปุญญํ     โจเรหิ     ทูหรํ.
                      บุญอันโจรนำไปไม่ได้.
                      สํ.   ส.   ๑๕ / ๕๐.
 
              ๒.     ปุญญํ     สุขํ     ชีวิตสงขยมหิ.
                      บุญนำสุขมาให้ในเวลาสิ้นชีวิต.
                      ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๕๙
 
              ๓.     สุโข     ปุญญสส     อุจจโย.
                      ความสั่งสมขึ้นซึ่งบุญ     นำสุขมาให้.
                      ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๓๐.
 
              ๔.     ปุญญานิ     ปรโลกสมึ     ปติฏฐา     โหนติ     ปาณินํ.
                      บุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ในโลกหน้า.
                      สํ.   ส.   ๑๕ / ๒๖   อง.  ปญจก.   ๒๒ / ๔๔.   ขุ.   ชา.   ทสก.   ๒๗ / ๒๙๔.
 
              ๕.     ปุญญานิ     กยิราถ     สุขาวหานิ
                      ควรทำบุญอันนำสุขมาให้.
                      สํ.   ส.   ๑๕ / ๓.   อง.   ติก.   ๒๐ / ๑๙๘.  
 
 
 
 
 
 
 
 
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 


ขอบคุณทุกท่านที่มาเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเรา